หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่3

สืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ(web OPAC)
สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
1. ยืมต่อและตรวจสอบประวัติการยืมคืน
2. ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม
3. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และงานวิจัย
4. ฐานข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โครงการ ThaiLIS(TDC)
5. สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
6. แนะนำสั่งซื่อทรัพยากร
7. ข้อเสนอแนะสำนักวิทยบริการ
8. ข้อมูลของห้องสมุด
ที่มา...Web Opac-Academic Resouree Center,Mahasarakham University

วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าวประจำสัปดาห์ที่2

การค้นหาหนังสือในเว็บไซต์ห้องสมุดด้วย OPAC
By: libraryhub
ปัจจุบันการค้นหาหนังสือในห้องสมุดดีขึ้นกว่าเมื่อก่อนมากนะครับจากบัตรรายการมาเป็น OPAC หรือ WEBPAC ซึ่งทำให้เราค้นหาหนังสือได้จากทุกที่ทุกเวลาแต่การค้นหาทุกๆ อย่างก็มีข้อจำกัดของมัน วันนี้ผมขอเขียนถึง OPAC แล้วกันนะครับ
OPAC (Online Public Access Catalog) เป็นระบบค้นหารายการหนังสือในห้องสมุดโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ แทนที่ระบบแบบเก่าที่เป็นบัตรกระดาษผู้ใช้บริการห้องสมุดหรือบรรณารักษ์ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นผ่านคอมพิวเตอร์ในห้องสมุด หรือว่าใช้คอมพิวเตอร์ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
หลายคนคงคุ้นเคยกับการใช้งาน OPAC กันแล้วนะครับในเว็บของห้องสมุดเกือบทุกที่จะมีบริการสืบค้นหนังสือออนไลน์ (OPAC / WEBPAC) และหลายๆ คนคงคิดว่าระบบ OPAC นี้ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสืบค้นหนังสือได้ทุกที่ทุกเวลา
แต่ในความเป็นจริงแล้วพวกคุณเคยคิดมั้ยว่า…เวลาเราค้นหนังสือเจอใน OPAC แล้วเราทำไงต่อ
ระบบ OPAC นี้สามารถใช้ได้ทุกที่ทุกเวลาก็จริงแต่พอค้นหนังสือเจอแล้วแต่ก็อ่านไม่ได้สิ่งที่เราได้คือเรารู้ว่ามันเก็บอยู่ที่ไหนเพียงเท่านั้นและบอกว่าหนังสือนั้นอยู่ในห้องสมุดหรือปล่าว
หากเราต้องการหนังสือเราก็ต้องเดินทางมาที่ห้องสมุดอยู่ดีระบบ OPAC อาจจะใช้งานได้ในทุกที่ทุกเวลาก็จริงแต่ถ้าเราค้นหาหนังสือตอนห้องสมุดปิดบริการหล่ะ เราจะทำยังไง
ผมขอยกตัวอย่างปัญหาสักนิดมาให้อ่านนะครับ
ตัวอย่างที่ 1 นาย ก. สืบค้นหาหนังสือที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศนาย ก. จึงเปิดเข้าไปในเว็บห้องสมุดในเวลาเที่ยงคืนของวันอาทิตย์แล้วพิมพ์คำค้นว่า ระบบสารสนเทศ นาย ก.ได้รายชื่อหนังสือที่เกี่ยวกับสารสนเทศโดยมีหนังสืออยู่ที่ห้องสมุดกลาง จำนวน 3 เล่มแทนที่นาย ก.จะอ่านได้เลยแต่นาย ก.กลับต้องรอวันจันทร์วันที่ห้องสมุดเปิดทำการจึงจะสามารถไปที่ห้องสมุดแล้ว ยืมได้ - - - นี่แหละระบบที่ตอบสนองทุกที่ทุกเวลาแต่สถานที่ไม่ใช่
ตัวอย่างที่ 2 ในวันจันทร์ นาย ก.คนเดิมที่ได้รายชื่อหนังสือแล้วเข้าไปที่ห้องสมุดไปหาหนังสือที่ตนเองค้น ไว้ผลปรากฎว่าหนังสือที่ค้นเนื้อหาด้านในไม่ตรงกับสิ่งที่ นาย ก.ต้องใช้สรุปก็ต้องหาใหม่ - - - นี่แหละเห็นรายการแต่ไม่เห็น content
แล้วอย่างนี้จะแก้ปัญหาได้อย่างไร
สมมุติถ้านาย ก. หาข้อมูลใน Search Engine แต่แรกคงได้อ่านตั้งแต่คืนวันอาทิตย์แล้ว ไม่ต้องเสียเวลามาที่ห้องสมุดด้วย
เอาเป็นว่าอย่างที่ผมบอก ไม่มี solution ไหนที่ดีที่สุดสำหรับห้องสมุดเพียงแต่เราต้องหาทางแก้ไขและปรับปรุงการให้บริการของเราให้ดีขึ้นต่างหาก
ทางแก้ของเรื่องนี้อยู่ผมจะนำมาเขียนเล่าให้ฟังวันหลังนะครับเกี่ยวกับเรื่องการปรับปรุงคุณภาพและการให้บริการเชิงรุกของห้องสมุดบ้างว่าเพื่อนๆ จะต้องทำอย่างไรเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้
ปล.ที่เขียนเรื่องนี้มาไม่ใช่ว่าต้องการจะล้มระบบ OPAC หรอกนะครับ และไม่ได้มีเจตนาในการเปรียบเทียบแต่อย่างใด
เรื่องที่ใกล้เคียง
January 30, 2010 -- ผลสำรวจจำนวนคำที่ใช้ในการสืบค้นบน search engine (0)
January 22, 2010 -- 33 เหตุผลที่บรรณารักษ์และห้องสมุดยังคงมีความสำคัญ (2)
January 11, 2010 -- หาหนังสืออ่านเล่นใน Google books search ดีกว่า (0)
January 8, 2010 -- ความทรงจำดีๆ เรื่องเว็บไซต์ห้องสมุดชิ้นแรกของผม (0)
December 28, 2009 -- ห้องสมุดกับทิศทางในการใช้ Social Networking ปีหน้า (4)
December 14, 2009 -- เทคโนโลยีของห้องสมุดตั้งแต่ปี 1968 - 2007 (1)
December 3, 2009 -- สไลด์ที่น่าสนใจเรื่อง Open Systems ในห้องสมุด (3)
September 13, 2009 -- 5 คำแนะนำเพื่อการเป็นห้องสมุด 2.0 (2)
September 8, 2009 -- สรุปงาน “เทคโนโลยีเว็บ 2.0 : สู่ความเป็นเลิศของห้องสมุดดิจิตอล” (1)
August 27, 2009 -- โปรโมทห้องสมุดใน Facebook ดีกว่า (8)
การค้นหาหนังสือในเว็บไซต์ห้องสมุดด้วย OPAC ห้องสมุดและบรรณารักษ์ ...

วันจันทร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

โปรเจ็ทนักศึกษา


ข่าวประจำสัปดาห์ที่1

วิธีสืบค้น/ยืมต่อ/จอง/ตรวจสอบการยืมทรัพยากรสารนิเทศ




1. วิธีสืบค้นทรัพยากรสารนิเทศ
2. วิธีการตรวจสอบการยืมทรัพยากรสารนิเทศ
3. วิธีการยืมต่อทรัพยากรสารนิเทศ (ด้วยตัวเอง ผ่านเว็บไซต์)
4. วิธีการจองทรัพยากรสารนิเทศ (Status DUE เท่านั้นถึงสามารถทำการจองทรัพยากรสารนิเทศได้)

1. วิธีสืบค้นทรัพยากรสารนิเทศ
มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. เข้าที่เว็บไซต์ http://www.lib.kmitl.ac.th/
2. คลิ๊กที่ WebOPAC

วันพฤหัสบดีที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2553


ยินดีต้อนรับสู่ ThaifoodDB.com เว็ปไซด์รวม สูตรอาหารไทย ที่พิเศษด้วยความสามารถค้นหาสูตรอาหาร ทั้งจากชื่ออาหารและจากวัตถุดิบ เพียงคุณคลิกเข้าไปที่หน้า เปิดเมนู รวมบทความดีๆน่ารู้ เกี่ยวกับอาหารการกิน อ่านสนุก และได้สาระมากมาย ที่หน้า บทความ(รู้ไว้ใช่ว่า) หลากหลาย เคล็ดลับ ที่จะช่วยให้ งานครัวเป็นงานสนุก อีกทั้งยังช่วยประหยัดเงินในกระเป๋า ในยุคเศรษฐกิจ ตกสะเก็ดเช่นนี้ เปิด เมนูเอก สูตรอาหาร พร้อมภาพประกอบวิธีทำ แต่ละขั้นตอน งานนี้พลาดไม่ได้แล้ว
Welcome to ThaifoodDB.com , a site for Thaifood lover looking for free Thai Recipes such as Thai curry and soup , variety ofThai desserts , information about Thai ingredients and Thai herbs.Enter English version
"ประกาศ อีเมล์ปลอม" ถึงเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ สมาชิกขาประจำ และขาจร ของเวปไทยฟู๊ดดีบีทุกท่าน ขณะนี้ได้มีมิจฉาชีพ แอบอ้างนำอีเมล์ของ เวปมาสเตอร์ ไปใช้โฆษณาขายสินค้าหลากหลายประเภท ทางเวปขอแจ้งให้ทราบว่า เวปไม่มีนโยบาย การประกาศขายสินค้าผ่านทางอีเมล์ใดๆ และไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการขายสินค้าตามประกาศทั้งสิ้นค่ะ